top of page
DIRI JOURNAL Volum 1   

This collection of articles marks the launch of the Journal of the Dhammachai International Research Institute (JDIRI). The articles presented here indicate some of the perspectives on Buddhism that the journal intends to represent. It will feature articles that investigate all aspects of studies into Early Buddhism, with particular emphasis on the discovery and study of old manuscripts. Some of these manuscripts are copies of discourses from the Pāli canon. Others are extra-canonical Southeast Asian meditation manuals. The latter tend to relate to esoteric methodologies, as well as presenting exoteric notions from the vināya, the suttas and the abhidhamma. The former present researchers with the opportunity to examine early palm-leaf versions of canonical texts, many of which are often subjected to esoteric interpretations.

   DIRI JOURNAL Volum 1   

Free Download

   International Seminar on Early Buddhism   

The Dhammachai International Research Institute of Australia and New Zealand (DIRI) has been conducting a number of activities in the fields of education and research in Buddhist Studies. Its objectives are as follows: 1) To research and investigate the buddhavacana, the original teachings of the Buddha, without bias to any particular school or discipline such as Theravāda, Mahāyana or Vajrayāna. 2) To promote both the academic study of Buddhism, especially the origins of Buddhism, and the application of the teachings to daily life. 3) The establishment of its own journal by the Institute which will publish articles relating to these objectives. 4) To co-operate with similar centers in other academic institutions in organizing seminars and conferences, etc.

Free Download

Free Download

It is easy to spend money in Afghanistan, but difficult to spend it well. No single agency can adequately deal with the complex issues and logistical challenges created by the threat to the antiquities on the Mes Aynak site in Afghanistan. Cooperation, information-sharing and wise collaboration offer the best way forwards to maximize both national and international efforts to rescue elements of the site and its artifacts from destruction. The site is large, the need for economic development in Afghanistan is much larger, a realistic agenda will have to be hammered out in collaboration with Afghan agencies, including the Afghan government in Kabul. Providing any support inside Afghanistan’s complex development world needs to be done carefully (after appropriate advice-taking and investigation).

   Protection of Mes Aynak: the Unique Buddhist Archaeological Heritage of Afghanistan   

   History of Buddhism form ARCHAEOLOGICAL PERSPECTIVES & RECENT RESEARCH ON        DHAMMAKAYA AND BORAN MEDITATION TRADITION                                                  

Dhammachai International Research Institute (DIRI) Australia and New Zealand Conference on “Our knowledge of Buddhism in Afghanistan, based on Archaeological Evidences” and “Recent Research on Dhammakaya and Boran MeditationTraditions” Sunday 20, April B.E. 2557: 08.00-17.00 AIT Conference Center, Bangkok, Thailand Professor Dr Zemaryalai Tarzi Translated from French to English by Nadia Tarzi-Saccardi

Free Download

Free Download

Your Holliness Somdet Phra Puttachan President of the Committee on behalf of the Supreme Patriarch of Thailand, Most Venerable Phrathepyanmahamuni President of Dhammakaya Foundation, Venerable Phrabhavanaviriyakhun Vice President of Dhammakaya Foundation, Most Venerable Phra kru palad nyok vorawat, Members of the Dhammachai International Research Institute, Members of the Standing Committee of Religions, Art and Culture of the House of Representatives, Members of the World Fellowship of Buddhists Youth, Members of the International Buddhist Society, and all- co-organizers who contributed in making today's lecture possible, distinguished guests, ladies and gentlemen. I thank you for inviting me to your beautiful country and speak on Mes Aynak.

  Protection of Mes Aynak: The Ancient Buddhist Archaeological Site in Afghanistan  

  หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ  ฉบับประชาชน  

โครงการสืบค้นคำสอนดั้งเดิมจากคัมภีร์พุทธโบราณ นั้น จำเป็นต้อง ดำเนินขั้นตอนตามหลักการศึกษาวิจัยเชิงวิชาการ สำหรับคณะทำงานของ สถาบันฯ ถือว่าเป็นการเริ่มต้นจากศูนย์ เพราะสิ่งแรกที่ต้องทำคือการสร้าง บุคลากรให้เป็นนักวิชาการทางพุทธศาสนศึกษา โดยเริ่มเรียนรู้ระบบการค้นคว้า แบบตะวันตก เพื่อให้เข้าถึงแหล่งข้อมูลซึ่งเป็นที่หวงแหนของสถาบันวิชาการ ระดับโลกต่างๆ ซึ่งคณะทำงานบางท่านต้องเปลี่ยนสายงานจากพื้นฐานความรู้ ความถนัดที่มีอยู่เดิม ทั้งนี้ต้องนับว่าเป็นคุณูปการอย่างยิ่งของนักวิชาการ ตะวันตกสาขาต่างๆ ที่ได้รวบรวมและทำการศึกษาหลักฐานทางพระพุทธศาสนา ยุคต้นไว้แล้วเป็นอเนกอนันต์ ไม่ว่าจะเป็นวิชาการด้านโบราณคดี ประวัติศาสตร์ จารึกโบราณ นิรุกติศาสตร์ พุทธศาสนศึกษา ฯลฯ

Free Download

Free Download

It is sometimes worth remembering that Buddhism has been studied by Western scholars for less than a hundred and fifty years. Granted, reports by civil servants and missionaries in Sri Lanka had been filtering back to Britain since the early nineteenth century. However it was only toward the end of the century, when scholars such as T.W. Rhys Davids and R.C. Childers had begun the mammoth task of translating the Pali canon into English, and when the Theosophists initiated a more positive relationship with the religion that Buddhism was really ‘discovered’ by the West. The Pali Text Society was inaugurated in 1881 and the EFEO was not established until 1898. Indeed it was a long time until the West realized that Buddhism was a world religion to which many of the varied religious practices observed throughout Asia belonged...

   DIRI JOURNAL Volum 2  

  หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ  ฉบับรวมงานวิจัยโดยย่อ  

งานที่นำเสนอฉบับนี้มีกำเนิดจากศรัทธาอันแรงกล้า ที่จะสนองมโน ปณิธานของพระเดชพระคุณพระเทพญาณมหามุนี วิ. ในการหาร่องรอยวิชชา ธรรมกายจากหลักฐานคำสอนดั้งเดิมในส่วนต่างๆ ของโลก “ลูกๆ ชายหญิง” ของท่านได้ใช้เวลาหลายปีในการค้นคว้าเชิงวิชาการจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ที่ ยากต่อการเข้าถึง ทำงานวิจัยด้วยความอุตสาหะตอกย้ำศรัทธาของตน พร้อม กับใช้ศักยภาพความสามารถทั้งหมดอย่างเต็มที่ รวมถึงการประสานงานและ ประสานแรงใจก้าวข้ามอุปสรรคทีละขั้นไปเป็นทีม ผลที่ได้คือข้อมูลขั้นต้นที่ให้ ร่องรอยของวิชชาธรรมกายย้อนไปได้ถึงพุทธศตวรรษที่ 5 จนถึงพุทธศตวรรษ ที่ 24 ตามที่ปรากฏในบทความต่างๆ จากนี้...

Free Download

ผลจากงานวิจัยที่คณะทำงานได้ทุ่มเทด้วยความวิริยอุตสาหะ เป็นเวลา มากกว่า 13 ปีที่ผ่านนั้น คือการแสดงให้เห็นนัยสำคัญหรือร่องรอยของวิชชา ธรรมกายที่สูญหายไปกว่าสองพันปี บทความวิจัยที่เสนอไว้ในหนังสือเล่มนี้ รวบรวมจากข้อมูลหลักฐานมากมายหลายชิ้นงานและจากหลายแหล่ง สถานที่ ซึ่งเมื่อได้นำมาศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบกับคัมภีร์ฉบับบาลีมี พระไตรปิฎกเป็นต้น และเปรียบเทียบศึกษากับเทศนาคำสอน ของพระ เดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) อดีตเจ้าอาวาสวัดปากนำ้ภาษีเจริญ ก็พบความชัดเจนว่าธรรมกายเป็นที่รู้จักของชาวพุทธตั้งแต่ ยุคต้นๆ จนถึงอดีตที่ไม่ไกลนัก และธรรมกายเป็นกายที่ประกอบด้วยญาณ ตรัสรู้ที่สามารถรู้เห็นได้ด้วยญาณมิใช่ด้วยวิญญาณรู้ อีกทั้งการปฏิบัติธรรมที่ เป็นประสบการณ์ภายในคือนิมิตดวงสว่าง และการปฏิบัติธรรมแบบเห็นองค์ พระภายในกลางตัว รวมถึงการหยุดใจไว้บริเวณเหนือสะดือกลางท้องนั้น ย่อมบ่งชี้ว่ามีชาวพุทธได้เรียนรู้และปฏิบัติธรรมสืบทอดต่อเนื่องกันมานาน หลายสิบศตวรรษแล้ว

  หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ  ฉบับวิชาการ  

Page

1- 329

Page

330-563

Free Download

ธรรมกายในคัมภีร์พระธัมมกายาทิ (ฉบับเทพชุมนุม)
พระครูปลัดนายกวรวัฒน์ (สุธรรม สุธมฺโม)
สถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัยแห่งออสเตรเลียและนิวซีแลนด์  29 สิงหาคม 2556

 

พระธัมมกายาทิเป็นชื่อของคัมภีร์ศาสนาพุทธที่แต่งข้ึนด้วยภาษาบาลีในด้านวิชาการคัมภีร์พระธัมมกายาทิได้ถูกอ้างอิงเป็นคร้ังแรกโดย ศ.ฉ่ำ ทองคำวรรณ ในบทความจารึก พระธรรมกายวารสารศิลปากร พ.ศ. 2504 และในประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3 พ.ศ 2508  ศิลาจารึกหลักกล่าวไวในบทความขุดพบที่พระเจดีย์วัดเสือ อำเภอดมือง จังหวัดพิษณุโลก...

  ธรรมกายในคัมภีร์ พระธัมมกายาทิ  (ฉบับเทพชุมนุม)  

  ร่องรอยธรรมกายในคัมภีร์จตุรารักขา 

รายงานการวิจัย ร่องรอยธรรมกาย ในคัมภีร์จตุรารักขา
โดย สุปราณี พณิชยพงศ์  ตุลาคม 2556 

งานวิจัยชิ้นนี้ศึกษาคัมภีร์ที่มีชื่อว่า จตุรารกฺขา อารกฺขา แปลว่า การคุ้มครอง ปกป้องหรือรักษา (DP.324) จตุ แปลวา 4 รวมความ แปลว่า การคุ้มครอง ปกป้อง หรือการรักษา 4 วิธี ในส่วนแรกของคัมภีร์ได้ถูกร้อยเรียงขึ้นด้วยบทกลอนบาลีสั้น ๆ จํานวน 29 คาถา ทั้งหมดแต่งเป็นกลอนปัฏฐยาวัตรผสมกบวิปุลา ซึ่งบรรยายวิธีการปฏิบัติธรรม 4 วิธีด้วยกัน...

Free Download

Free Download

สมาธิภาวนาในคัมภีร์อักษรธรรม
Meditation in Tham Scripts Manuscripts
กิจชัย เอื้อเกษม
สถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ (DIRI)  2556

 

โยคาวจรเป็นศัพที่นักวิชาการตะวันตกบัญญัติชึ้นเพื่อความสะดวกในการเรียกพุทธศาสนาที่ได้รับการนับถือปฏิบัติแพร่หลายในแถบดินแดนเอเชียตะวนออกเฉียงใต้

ก่อนพุทธศตวรรษที่ 25 (Crosby 2000:141) 

  การทำสมาธิในธรรมเนียมโยคาวจร : ศึกษาจากคัมภีร์อักษรธรรม  

  ร่องรอยธรรมกายในคัมภีร์ตถาคตครรภะ  

ร่องรอยธรรมกายในตถาคตครรภะ
Traces of Dharmakāya in the Tathāgatagarbha doctrine
ดร ชัยสิทธิ์ สุวรรณวรางกูล  Dr. Chaitsit Suwanvarangkul

มหาปรินิรวาณสูตรเป็นพระสูตรหนึ่งที่บันทึกด้วยภาษาสันสกฤตอักษรกุษาณะพราหมีในราว พุทธศตวรรษที่๖-๗ (ศ ๑-๒) และได้ถูกแปลมาเป็นภาษาจีน ในพุทธศตวรรษที่๙ (ศ ๔) โดยท่านฟาเหียน พุทธภัทรและธรรมเกษม และถูกแปลมาเป็น ภาษาธิเบต ในพุทธศตวรรษที่๑๓ (ศ ๘) โดยท่านชินมิตร ชญานะครรพ และเทวจันทระ มหาปรินิรวาณสูตรเป็นพระสูตรหนึ่งที่กล่าวบันทึกด้วยเรื่องราวเกี่ยวกับ แนวความคิด ตถาคตครรภะ ซึ่งเป็นแนวความคิดที่มีปรากฏในหลาย ๆ พระสูตรเช่น ศรีมาลาเทวีสิงห นาทสูตร ตถาคตครรภสูตรอังคุลีมาลียสูตร  เป็นต้น

Free Download

Free Download

รายงานผลการวิจัย
สมาธิกับศูนย์กลางกายในพระพุทธศาสนาจีน
ยุคโฮ่วฮั่นและยุคโฮ่วฉิน
THE CENTRE OF THE BODY: CHINESE BUDDHIST
MEDITATION TECHNIQUES IN LATER HAN AND LATER
CHIN PERIOD
พระเกียรติศักดิ์ กิตฺติปญฺโญ
สถาบันวิจัยธรรมชัยนานาชาติ(DIRI)
มกราคม 2557

  สมาธิกับศูนย์กลางกายในพระพุทธศาสนาจีนยุคโฮ่วฮั่นและยุคโฮ่วฉิน  

งานวิจัยนี้ เป็นการศึกษาหาร่องรอยธรรมกายที่ปรากฎในคัมภีร์ใบลานภาษาเขมรโบราณ โดยการศึกษานี้ผู้วิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาว่าในคัมภีร์ใบลานเหล่านั้นมีกล่าวถึงธรรมกายหรือไม่ถ้ามีร่องรอยเหล่านั้นจะหมายถึงอะไรและเมื่อเทียบกับวิชชาธรรมกายแล้วจะมีความสอดคลองหรือต่างกันอย่างไร หลังจากทําการศึกษาแล้วพบว่า บรรดาคัมภีร์เหล่านั้น บางผูกพบร่องรอยธรรมกายทั้งเป็นบทสวด ชื่อคัมภีร์ และผลแห่งการปฎิบัติที่สอดคลองกับวิชชาธรรมกาย บางผูกก็ไม่มีสําหรับร่องรอยที่มีผู้วิจัยได้นํามาศึกษาวิเคราะห์โดยเปรียบเทียบกับคําสอนของพระมงเทพมุนี (สด จันทสาโร) ผู้ค้นพบวิชชาธรรมกาย และเมื่อศึกษาวิเคราะห์ผลทั้งสองฝ่ายแล็วพบว่า เนื้อหาคัมภีร์ในทางภาคปฎิบัติมีความเหมือนกับวิชชาธรรมกายในบางประเด็น อย่างเช่น การทําสมาธิโดยวางใจเข้าไปภายในตัว การเห็นแสงสว่าง เห็นดวงแก้ว ดวงจิต ดวงพระธรรมเจ้า การเห็นพระรัตนะตรัยภายในตัว การเห็นดวงศีล การเห็นพระพุทธเจ้าและพระอริยสงฆ์ในประตูพระนิพพานเป็นต้น

Free Download

  ร่องรอยธรรมกายในคัมภีร์ใบลานภาษาเขมร  

  ทฤษฏีตถาคตครรภะในพระไตรปิฏกบาลี  

Free Download

รายงานผลการวิจัย
ทฤษฎีตถาคตครรภะในพระไตรปิฏกบาลี 

พระเกษตร ญาณวิชฺโช

ทฤษฏีตถาคตครรภะมีอยู่ในคัมภีร์พระพุทธศาสนาฝ่ายมหายานคัมภีร์หลักที่กล่าวถึงทฤษฏีตถาคตครรภะได้แก่คัมภีร์ตถาคตครรภสูตรและคัมภีร์ศรีมาลาสูตร(Takasaki 1966: 32) เป็นต้น

รายงานผลการวิจัย

ร่องรอยวิชชาธรรมกายในคันธาระและเอเชียกลาง
Traces of Dhammakaya Meditation in Gandhāra and Central Asia
ดร.ชนิดา  จันทราศรีไศล

สถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ (DIRI) 

พุทธศักราช 2557

Free Download

  ร่องรอยวิชชาธรรมกายในคันธาระและเอเชียกลาง  

ความไม่รู้ คือ อวิชชา เป็นอันตรายต่อชีวิต เพราะทำให้เราดำเนิน ชีวิตผิดพลาดได้ในทำนองเดียวกัน การศึกษาเกี่ยวกับธรรมปฏิบัติว่า พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงตรัสรู้ด้วยวิธีการใด และจากนัยของคำว่า “ธรรมกาย” ที่ทรงแสดงไว้ในพระพุทธดำรัสว่า “ตถาคตสฺส เหตํ (วาเสฏฺฐา) อธิวจนํ ธมฺมกาโย อิติปิ เราตถาคตคือธรรมกาย” และ “โย โข (วกฺกลิ) ธมฺมํ ปสฺสติ โส มํ ปสฺสติ ผู้ดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต” ได้ทำให้พระเดชพระคุณพระเทพญาณมหามุนี วิ. (หลวงพ่อ ธัมมชโย) ตระหนักถึงความสำคัญของธรรมกายต่อการตรัสรู้ธรรม และปรารถนาให้ผู้คนได้เข้าใจความหมายและที่มาของ “ธรรมกาย” อย่างถูกต้อง เพื่อการดำเนินชีวิตอย่างปลอดภัยและมีชัยชนะคือการ หลุดพ้นจากวัฏสงสารในที่สุด ท่านจึงมีดำริให้ทีมงานนักวิจัยมาร่วมกัน ศึกษาและทำความจริงให้ปรากฎ

Free Download

  ถามตอบข้อสงสัยเรื่องธรรมกาย   

  หลักฐานธรรมกาย ครั้งที่ 3  ถามตอบข้อสงสัยเรื่องธรรมกาย   

Free Download

เนื่องในวาระครบรอบ 72 ปี พระเดชพระคุณหลวงพ่อธัมชโย (ไชยบูลย์ ธมฺมชโย) องค์สถาปนาสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย (DIRI) คณะนักวิจัยขอน้อมนำโอวาทจาก พระเดชพระคณุ หลวงพ่อฯ ซึ่งไดใ้ห้ไว้เป็นแนวทางในการวางแผนการทำ งานของโครงการค้นคว้าวิจัยคำสอนด้ังเดิมที่ทีมงานได้ยึดถือเป็นหลักในการดำเนินงานมาโดยตลอด ใจความว่า “...เนื่องจากว่านักวิชาการ เป็นผู้ท่ีมีพลังและอานุภาพมากสำหรับชาวโลก ถ้านักวิชาการ ได้พูดอะไรออกไป มีหลักฐานอ้างอิงพอท่ีจะชวนเช่ือถือได้ ชาวโลกซ่ึงไม่มีเวลาจะมาศึกษาพระธรรม คำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าก็จะเช่ือ ในส่ิงท่ีนักวิชาการท้ังหลายของโลกได้กล่าวไว้หรือพูดเอา ไว้ตามท่ีต่างๆ ถ้าหากว่าเราสามารถมีหลักฐานอ้างอิงเก่ียวกับคำสอนดั้งเดิมของพระพุทธเจ้า เนื่องมากับวิชชาธรรมกายด้วยแล้ว เราก็จะได้เอาหลักฐานนี้ไปแสดง ไปเปิดเผยให้นักวิชาการ ทั้งหลายในโลกนี้ได้รู้ ได้เห็น ได้รับทราบ และก็ยอมรับในยิ่งที่เราค้นคว้าออกมาอย่างมีเอกสารสารป้างอิงตรงจุดน้ีแหละจะเป็นประโยชน์ต่อมวลมนุษยชาติ...”

ซึ่งตลอดระยะเวลา 16 ปี ท่ีได้ริเร่ิมโครงการค้นคว้าวิจัยคำสอนด้ังเดิมมาน้ี ทางทีมงาน ได้ยึดเป็นหลักปฏิบัติก่อให้เกิดผลงานวิจัยขึ้นมากมาย ได้เผยแพร่สู่สาธารณชนเพื่อทำความจริง ให้ปรากฏและพร้อมท่ีจะเป็นทนายแก้ต่างให้พระพุทธศาสนาสืบไป

DIRI    BOOK S

and    JOURNALS

bottom of page